เริ่มต้นทำให้ตัวเราเองลดความเครียดและวิตกกังวล อาจมีหลายวิธี แต่หนึ่งในนั้นที่ครูเองก็นำมาใช้ในชีวิตจริง คือ
Author: on artbook
จะค้นพบสิ่งที่เราชอบ ..(และสามารถต่อยอดทำเป็นอาชีพ) ได้อย่างไร?
แล้วถ้าหากเราไม่ได้มีอะไรที่ชอบหรืออยากทำตั้งแต่เด็กๆ เราจะทำอย่างไรดีล่ะ จริงๆแล้ว หากอ่านบรรทัดข้างบนดีๆจะเห็นว่า แม้ว่าครูจะชอบวาดรูปตั้งแต่แรกไปเอง แต่กว่าครูจะรู้ได้ว่าครูอยากทำหรือเริ่มชอบการแต่งนิทานหรือสร้างสรรค์เรื่องราวขึ้นมาได้นั้น ก็ต่อเมื่อครูวาดรูปไปเรื่อยๆอาศัยการทำไปและใช้เวลาก็จะสังเกตเห็นว่าเรารู้สึกชอบหรืออินกับอะไรมากเป็นพิเศษได้ค่ะ
ลงทุนในตัวเอง
สิ่งหนึ่งที่สำคัญในปัจจุบัน คือ การลงทุนในตัวเองค่ะ ไม่ว่าจะเป็นการลงคอร์สเรียนเพื่อเพิ่มทักษะความรู้ การลงทุนดูแลสุขภาพร่างกายจิตใจของตัวเอง การใช้เวลาอ่านหนังสือ อ่าน e-book การกำหนดลมหายใจ การเก็บเงินให้ตัวเอง การท่องเที่ยว การเรียนรู้ภาษาใหม่ๆ การเลือกคบเพื่อนที่ทำให้ใจเราดี สดชื่น และอื่นๆอีกมากมาย
ควรฝึกวาดรูปตอนไหนถึงได้ผลที่สุด?
“ศิลปะจะเข้าหาผู้ที่ทำงานศิลปะได้เสมอ”
เราจะหาแรงบันดาลใจวาดรูปจากที่ไหนได้บ้าง?
แต่การจะเกิดแรงบันดาลใจในการวาดรูปนั้น ไม่ได้จำเป็นแค่ว่าเราต้องดูแต่งานศิลปะ งานวาด หรือ VDO เกี่ยวกับการวาดรูปลงสีเท่านั้นนะคะ
ทำไมเราต้องฝึกวาดรูปแบบค่อยเป็นค่อยไป?
เราควรต้องมีเป้าหมายหลักๆที่เป็นจุดหมายปลายทาง ว่าเราจะทำอะไร ไปทางไหน และต้องทำอะไรบ้าง แต่ระหว่างทาง
วาดรูปแล้วได้อะไร? ทำไมเราต้องวาดรูป?
ย้อนกลับมาว่า แล้วการวาดรูปได้แต่ความสุขเท่านั้นเองหรือ?
เราชอบวาดรูปอะไรกันแน่?
เพราะการที่เราเริ่มต้นจากทำทุกอย่างที่เราคิดว่าเรา “น่าจะ” สนใจก่อน ก็เป็นทางที่ดีกว่าเรามุ่งไปทางใดทางหนึ่ง “ในช่วงแรก” ที่ค้นหาเลย การลองหลายๆแบบก็เพื่อนำไปสู่การลงลึกว่าเราสนใจจริงๆหรือเปล่า
เริ่มต้น “เพื่อ” เปลี่ยนแปลง (ไปในทางที่ดีขึ้น)
เชื่อไหมคะ พอเริ่มอ่านเล่มแรกอย่างมีสมาธิ (อ่านก่อนนอนทำให้หลับสบายขึ้นได้นะคะ) เล่มที่ 2,3,4 ก็ตามมา จนถึงวันนี้ที่ครูนั่งเขียนบทความอยู่นี้ กองหนังสือใหม่มาส่งที่บ้านเกือบ 10 เล่มแล้วค่ะ
เรื่องของความอดทน Vs. การฝืนทน
สิ่งที่เราทำได้ สิ่งที่เราชอบ ในบางครั้งก็ต้องอาศัยความอดทนที่จะเรียนรู้ให้ผ่านช่วงแรกที่รู้สึกยากแสนยากไปก่อน หลังจากนั้นพอเราทำได้ ทำเป็นแล้ว เราก็จะพลิ้วไปตามจังหวะของเราได้